samedi 6 avril 2019

Suite à l'ophtalmologique


Suite à l’opération ophtalmologique. 



Depuis trois ans déjà, dès notre arrivée à Ban Satoïe, nous nous organisons pour rendre visite à notre protégée, Madame PHIMPA, la jeune maman  aveugle dont l’opération de l’œil gauche a permis d’acquérir  70 % de vision. Œil droit, vision o % ; en attente. Rapidement, malheureusement des problèmes de tolérance, de tension dans l’œil opéré sont apparus, imposant des déplacements à la capitale,(180 km à chaque visite) des soins pénibles, coûteux pour l’association - environ 900 à 1000 euros par an. L’essentiel pour nous, à présent, c’était le succès total de l’opération de l’œil droit. 

Lors de notre première visite, comme d’habitude, rien n’avait encore changé : nous étions avec notre premier groupe, heureux de lui faire découvrir la joie de cette jeune femme, devenue indépendante et autonome. Un mois plus tard lors de notre deuxième visite, elle est à Bangkok, nous explique sa mère, pensionnaire du Loto National pour lequel elle vend des billets, aidée par une association d’aveugles. Elément positif, elle est proche de l’hôpital qui la suit dans son traitement toutes les semaines, ce qui lui permet d’être logée et de percevoir un pourcentage sur la vente pour se nourrir. Lors de notre 3ème visite, la dernière, nous pensions qu’elle était toujours à Bangkok. A notre arrivée, on nous indique qu’elle est là et qu’elle a été opérée ! Pendant un instant nous nous sentons heureux, elle sort de la maison, un bandage sur un œil ! Elle marche très lentement vers nous. Montri l’observe, et découvre que c’est l’œil gauche qui a le pansement, celui qui a déjà été opéré…. ! Silence …. !


 Nous avons rapidement les dernières informations : un problème de glaucome. D’où l’intervention. Que faire ? Après réflexion, pourquoi ne pas opérer l’œil droit au plus tôt afin d’avoir les soins en même temps, si son ophtalmo est d’accord.  Nous nous entretenons longuement avec elle. Nous lui demandons de questionner son ophtalmologue en vue d’une opération rapide du second œil, toute à notre charge bien sûr. Un seul déplacement pour les deux yeux, une seule visite ; solution qu’avait proposée l’hôpital  à condition que les finances suivent ! Une dernière question de Montri : « Je vous ai vue marcher comme si vous aviez encore la vue ? - Pendant le temps où j’ai recouvré la vue, j’ai enregistré les parcours de la maison ! 

 Guy et Montri 


dimanche 8 avril 2018

Suite de l’opération et des soins หลังจากการผ่าตัดตาและรักษา


Action humanitaire
การช่วยเหลือด้านมนุษธรรม  






Suratchana a 35 ans, elle élève seule ses deux filles. Il y a 10 ans son mari l'a quittée après la naissance de la petite.
C'est dès sa naissance que ses problèmes de vue sont apparus. Dans sa petite enfance, elle y voyait très mal, puis en classe de CM1, elle n'y voyait plus assez pour étudier. Elle n’apercevait plus que les ombres et la lumière.

A cette époque, en Thaïlande,  il n’était pas possible de la soigner. Lorsque nous l'avons rencontrée pour la 1ère fois en 2009, pour le parrainage de sa fille aînée, elle était toujours assise et ne pouvait se diriger qu'avec l'aide d'une  tierce personne.
                 สุรัชนา อายุ 35 ปี เธอเลี้ยงลูกสาวสองคนมาด้วยตัวเองมา ตั้งแต่ สิบปีมาแล้วที่สามีแก่ทิ้งเธอไว้กับลูกๆ และตั้งแต่ ลูกคนเล็กเกิด  สุรัชนามีปัญหาเกี่ยวกับสายตามาตั้งแต่เด็กๆ เธอมองไม่ค่อยจะเห็น และหลังจากอยู่ชั้น ป4 สายตาเธอมองแทบไม่เห็น และเห็นแค่รางๆ อย่างเช่นเงาและแสงสว่าง และในระยะนั้น มันเป็นการยากมากที่จะรักษาตา และตอนเราพบเธอครั้งแรก ในปี คศ 2009 เพื่อส่งลูกสาวของเธอคนโตเรียนหนังสือ เห็นเธอนั่งอยู่ตลอดเวลา และจะมีคนช่วยนำทางเธออยู่เมื่อจะย้ายไปใหไหนต่อไหน

En 2013, suite à la demande de parrainage pour sa seconde fille Chanitporn, son état nous a interpelés, nous savions qu'elle était dans l’impossibilité de travailler, que ces trois personnes étaient à la charge des grands-parents. C'était une famille totalement démunie.

Une famille très sérieuse tant sur le plan éducatif que moral. Les grands-parents ont adopté Manita, à l'époque bébé, qu'ils avaient en nourrice et à laquelle la mère biologique a « oublié » de rendre visite. Manita a aujourd'hui 20 ans.

         ในปี คศ 2013 ลูกสาวคนเล็กขอทุนการศึกษา พวกเราเห็นว่าอาการของเธอเกี่ยวกับสายตาทำให้เราเป็นห่วงมาก เพราะเรารู้ว่าเธอจะไม่มีโอกาศได้งานทำ และพวกเราเห็นว่าเธอและครอบครัวอยู่ในความดูแลเลี้ยงดูจากพ่อแม่ และมันทำให้นพ่อแม่ของเธอต้องลำบากมากขึ้น ครอบครัวนี้เป็นเป็นครอบครัวที่ขยั้นและเอาจริงเอาจัง ทั่งเรื่องการศึกษาหรือเรื่องความวางตัว พ่อแม่ของเธอเป็นคนที่เอาเด็กชื่อว่า มานิตามาเลี้ยงตั้งแต่เป็นเด็กทารก ตอนแรกก็เป็นแม่เลี้ยง แต่แม่ผู้ให้บังเกิดของเด็ก ปล่อยเด็กทิ้งและหนี้ไป จนตอนนี้ มานิตาอายุได้ 20 ปีแล้ว
Nous avons demandé à Suratchana plus d'informations sur son problème de vue. La médecine étant inabordable pour des familles démunies que cet état est accepté comme une fatalité. Nous lui demandons avec Kou Modt, notre correspondante et professeure à l'école, de faire des examens que l'association prendra en charge.
Suratchana commença par l'hôpital de Ban Mi, le plus proche, situé dans la sous-préfecture, à 10 km. Ce cas ne rentrait pas dans le domaine de leurs compétences. Réponses identiques  à l’hôpital de Lopburi, la préfecture et enfin de Saraburi.
               พวกเราถามรายระเอีอดเกี่ยวกับปัญหาเรื่องสายตาของ 
สุรัชนา การรักษานั้นไม่ต้องพูดถึงเพราะครอบครัวที่ยากจนอย่างนี้ไม่มีทางที่จะไปรักษาตัวได้ พวกเราจึงขอร้องให้ครูมด อาจรรย์ และผู้แทนของพวกเรา เพื่อส่งไปตรวจสอบ และทางสมาคมจะเป็นผู้จ่ายค่าใช้จ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับการตรวจรักษา โดยเริ่มทำการตรวจที่โรงพยาบาล บ้านหมี่ ซึ่งอยู่ 10 กมจากบ้านซึ่งอยู่ในตัวอำเภอ แต่ไม่ได้ผลหมอทำไม่ได้ เลยไปตรวจที่โรงพยาบาลในจังหวัดลพบุรี และสระบุรี่ แต่ได้ไม่ได้ผล
Il ne restait plus qu’à consulter dans les hôpitaux de Bangkok. Les premières visites étaient pour elle toute une aventure : aveugle dans les rizières, n'ayant que le chant des oiseaux et celui des coqs pour repères. La voici dans la capitale avec la pollution et le bruit des moteurs. 1ère  ville du monde pour son trafic tous véhicules. Accompagnée de sa mère, femme très éveillée, je vois d'ici Suratchana se faisant toute petite dans le fauteuil des « Grands Docteurs » ! On détecte bien son problème mais aucun soin n’est envisageable dans l’immédiat. Nous lui demandons de rester à l'écoute de toute nouvelle évolution.

จึงหวังว่าจะได้ไปปรึกษาที่โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ  การพบหมอครั้งแรกรู้สึกว่าจะมีความหวังบ้าง การมารักษาตัวที่กรุงเทพฯ ในฐานะของผู้หญิงบ้านนอกท้องนามันไม่ใช่ของง่ายนัก เพราะการเคยอยู่ในท้องนาที่มีแต่เสียงของนก และไก่ขัน จุ่ๆก็มาอยู่ในเมืองหลวง ที่มีแต่ฝุ่นและกลิ่นควันท่อไอเสียของรถ พร้อมด้วย เสียงรถยนต์เต็มไปหมด  เธอต้องเดินทางไปกับคุณแม่ ที่พอจะมีความรู้และผสพการพอสมควร และรู้จักอะไรในชีวิตดี ฉันก็พอจะมีความจินตนาการไว้ว่า สุรัชนานั่ง บนโซร์ฝา ต่อหน้าศาสตราจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ อย่างสงบเสงียมเจียมตัว ท่านบอกว่าพอจะมีการแก้ปัญหาได้ แต่ก็ยังไม่ได้ตัดสินใจทำอะไรไปในระยะแรก และบอกให้รอไปก่อนเผื่อว่าจะมีวิธีที่รักษาที่ดีกว่านี้ 

Trois ans plus tard l'espoir renaît.... ! Il se passe quelque chose à la capitale. La technologie médicale a évolué. Examens-voyages pour Bangkok en train, longs pénibles et l’insécurité face à la foule, risques de bousculade. C'est finalement en voiture, avec l'aide des voisins, qu'elle s'y rendra. Maintenant les visites se font chez un professeur de médecine ophtalmologique, coût 2500 B les 20 minutes, (soit 70 Euros). Le salaire mensuel à l'époque est de 200 € par mois.
               3 ปีหลังจากนั้น ความหวังก็รู้ศึกจะค่อยๆมีแสงสว่างขึ้น  มันมีการรักษาใหม่ๆเข้ามาสู่ประเทศ หลายอย่าง รวมทั้งการรักษาทางแพทย์ แฝนใหม่ การเข้าไปตรวจที่กรุงเพทฯโดยทางรถไฟมันใช้เวลา มาก และเป็นที่ลำบากต่อคนตาบอดที่เดินทางร่วมกับผู้โดยสารอื่นๆ ซึ้งมันอาจจะเกิดอุปติเหตุได้ และผลสุดท้าย ทางครอบครัวของเธอหาคนแถวๆบ้านเพื่อเป็นคนนำพาไปทุกๆครั้งที่หมอนัด โดยจ่ายค่าน้ำมันรถและค่าเสียเวลานิดหน่อย  และค่านัดพบหมอแต่ละครั้งตก ราคา 2500 บาท ต่อ20 นาที ซึ่งประมาณ 70 ยุโรในขณะที่ เงินเดือนขั้นต่ำในระยะนั้น ประมาณเดือนละ 200 ยุโร  
Beaucoup de déplacements, le professeur n'est pas toujours libre, le temps passe. Puis vient l’opération de l’œil gauche pour commencer. Résultat : elle voit et retrouve 70% d’acuité visuelle. Malheureusement une infection de la prothèse occasionnera pendant 18 mois des soins très coûteux, elle devra supporter les douleurs, les poussées de tensions dans les yeux. Il faut attendre… attendre… Nous réglons l’intégralité des factures.
Puis début mars de cette année, lorsque nous la rencontrons, avant de quitter le village, Supatchana nous informe que les dernières analyses sont bonnes, qu'elle est prête et attend un accord de la croix rouge Thaïlandaise pour la prise en charge de la seconde opération.
ต้องใช้เวลาไปพบหมอหลายๆครั้ง และหมอไม่ค่อยจะว่างด้วย เวลาผ่านไป ถึงเวลาที่จะผ่านตัดดวงตาข้างซ้าย ในระยะแรก และผลที่ได้คือ เธอสามารถมองเห็นได้ 70 เปอร์เซ็นต์ แต่โชคร้ายไปหน่อยคือ ดวงตาเกิดมีการอักเศสและแพ้ยา และต้องใช้เวลารักษาเป็นเวลา 18 เดือน ค่ารักษาแพงมาก และเธอต้องทนเจ็บ เพราะมีแรงดันสูงในดวงตาอีก และต้องรอ และรออีก ในระหว่างที่รักษา ให้ดวงตาอยู่ในระดับเดิม และทางสมาคมเป็นคนจ่ายค่ารักษามาอยู่เรื่อยๆ
และในเดือน มีนาคม นี้ ในระหว่างที่พวกเราไปเยี่ยมเธอก่อนที่จะจากมะขามเฒ่า สุพัชนา ได้บอกพวกเราว่า การตรวจสอบทุกอย่างอยู่ในขั้นดี และเธอก็พร้อมแล้วสำหรับการผ่านตัดดวงตาด้านขวา แต่เธอก็ต้องรอว่าทาง สภากาชาติไทย อนุมัติในการใช้จ่ายค่าผ่าตัดครั้งนี้ก่อน 

De notre côté, nous sommes prêts et impatients qu'elle puisse vivre librement. Nous lui posons des questions sur la Croix Rouge : elle est en attente, il faut 5 ans de patience pour obtenir une aide financière et l'acceptation du dossier, pour seulement un montant de 15.000 B soit 395 euros.
สำหรับพวกเรานั้น พวกเราพร้อมแล้วที่จะให้เธอได้มีโอกาศมีชีวิตอย่างคนทั่วๆไป และเป็นอีสระ เราจึงถามรายระเอียดกว่ากับ สภากาชาติไทย เธอบอกว่าตอนนี้กำลังอยู่ในจำนวนรายชื่อของคนไข้ด่างๆที่รอ และจะต้องรออย่างน้อยๆ 5 ปี เพื่อจะได้ทราบว่าจะอนุมัติให้หรือเปล่า และหากได้ ทางสภาชาติไทยจะจ่ายให้ในการผ่าตัดครั้งนี้ 15.000 บาท ซึ่งประมาณ 395 ยุโร

 Cela nous demande trois minutes de réflexion : dans 5 ans, la Croix Rouge aura-t-elle encore les moyens d’intervenir, avec ce gouvernement militaire ?  5 ans d'attente pour elle, elle aura 40  ans. Notre association sera-t-elle en mesure de lui venir en aide à ce moment-là. Au diable la Croix Rouge pour notre cas... ! C'est maintenant ou jamais, elle est en bonne santé et décidée à le faire. Nous avons les moyens. 


Feu vert : scène touchante : j’étais assis, elle est venue me saluer à genoux pour me remercier : mains jointes selon la coutume. Aux amis du vieux tamarin, je vous dédie cet instant pathétique, j'étais le seul à le recevoir mais il se partage....

พวกเราไม่ต้องเสียเวลาตัดสินใจเลย  เพราะ 5ปี ในการรอของเธอนั้น และยังไม่แน่ด้วยซ้ำไปว่าเธอจะได้รับงบนี้ หรือไม่ โดยเฉพาะประเทศที่มีการปกครองด้วยทหารอย่างนี้  และถึงตอนนี้ เธอจะมีอายุได้ 40 ปี  เรายังไม่ทราบเหมื่อน กันว่าทางสมาคมเพื่อนๆมะขามเฒ่ามีโอกาศที่จะได้มารอช่วยเหลือเธอได้อีกหรือเปล่าในระยะนั้น ทำไมจะต้องรอไปให้เสียเวลาไปล่ะ ถึงเวลาแล้ว หากเราไม่ช่วยตอนนี้ เราก็ไม่แน่ใจหรือเปล่าว่าอีก 5 ปี เธอยังจะมีสุขภาพดีที่จะทำการผ่าตัดตาอีกหรือเปล่า  พวกเราจึงบอกให้ทำการติดต่อหมอเพื่อไปผ่าตัดทันที และไม่ต้องรออีกแล้ว ......ภาพที่เห็นอยู่ต่อหน้าฉันในขณะนั้น  ฉันจะไม่สามารถที่ จะเอามาบัญยายให้ทุกๆคนฟังได้ แต่ฉันก็ขอ แบ่งภาพนี้ให้แก่ทุกๆคน คือ.... ตอนนั้นฉันนั่งอยู่ สุรัขนา เรียบเข้ามาคุกเข่าต่อหน้าฉัน และยกมือไหว้ทั่วหัวน้ำตาซึม พร้อมทั้งความยิ้นอย่างดีใจ เธอยกแขนมากอดฉันอย่างแนน และพึงพับเสียงสั่นๆว่าขอบคุณ ขอบคุณ มันเป็นภาพที่ฉันจะลืมไม่ได้ จึงขอเก็บมาฝากเพื่อนๆ มะขามเฒ่าทุกๆคน                  

Le coût total de cette seconde opération est estimé à 2500 €, sauf complications... Nous attendons  maintenant la date du rendez-vous.

Le dernier repas à Marolles, en octobre 2017, avec 195 convives, avait pour fil rouge « la santé de Suratchana ». Le bénéfice total de cette soirée s’est élevé à 7500 euros. Nous n'avons jamais atteint un tel montant ! Régler l’opération et les soins de suite n'aura aucune incidence sur l'aide apportée aux  enfants car une chance pour cette année, il y aura beaucoup de riz.

Merci à vous de la confiance que vous nous accordez. Ensemble nous sommes plus efficaces !

ค่าผ่าตัดครั้งนี้ ประมาณ 2500 ยุโร แต่จะยังไม่ร่วม ในกรณีย์ที่มีอาการแพ้ หรือมีปัญหาต่างๆที่อาจจะตามมาทีหลัง....  เมื่อปีที่ 2017 เราใด้จัดงานประจำปีจัดเลี้ยงอาหารไทยของสมาคม มีทั้งหมดผู้เข้ามาร่วมงาน 195 คน ในงานเราพูดถึงการช่วยเหลือ ในการผ่าตัดตาของ สุรัชนา และสุขภาพของเธอ และในวันนั้น เราได้รับเงินจากค่าอาหาร เงินขายของที่ระลึก และเงินบริจาก และเมื่อหักออกจากรายจ่ายแล้ว เหลือกำไรทั้งหมด 7500 ยุโร และเราไม่เคยได้รับรายได้เท่านี้มาก่อน... ฉนั้นในการเป็นค่าใช้จ่ายเรื่องผ่าตัดและค่ารักษาตา ในกรณีย์นี้ จึงไม่มีปัญหากับสมาคม... รวมทั้ง ปีนี้ เด็กๆ ที่มะขามเฒ่าโชคดี ที่ พ่อแม่มี งานทำ มีนาทำและข้าวปลาอุดมสมบูรณ์ และได้ผลดีมาก จึงจะไม่ต้องจ่ายค่าอาหารกลางวันในปีนี้เช่น เหมือนกับเมื่อสองปีที่แล้วๆมาอีก...
                พวกเราขอขอบคุณที่ทุกๆคนให้ความไว้วางใจในการตัดสินใจครั้งนี้  เหมือนกับสุภาสิตที่ว่า เราต่างคนต่างร่วมมือกันจะทำให้มีผลและประสิทธิภาพดีเลิด !


Guy et Montri
Les Amis du Vieux Tamarin




vendredi 4 décembre 2015

Après l'obscurité, l'espoir renaît

After obcurity, hope is born 
See English version by Laurie Graham at : อ่านภาษาอังกฤษที่ข้างล่างนี้
http://helpanoperation.blogspot.fr/

Après l'obscurité, l'espoir renaît......

Lors de notre premier voyage en Thaïlande, Guy et Montri nous racontent l’histoire d’une petite fille, Chanitporn, pas encore parrainée. Elle vit avec sa maman, Mlle Surachana PIMPA, aveugle et sa grande sœur, Pornapat, déjà parrainée par des membres de l’Association des Amis du Vieux Tamarin. Nous avons été émus par son histoire.  Sans hésiter, nous avons accepté de parrainer cette enfant, nous qui étions candidats au parrainage depuis quelques temps déjà. Nous souhaitions bien sûr voir le cadre de vie de Chanitporn. Nous sommes donc allés à la rencontre de cette famille avec quelques amis présents de l’Association. Chanitporn, sa maman et sa sœur vivent en communauté avec des tantes, cousins et cousines. Il y a beaucoup d’entraide dans cette famille pauvre.


จากความมืดมลความหวังเริ่มเกิดขึ้น

นับว่าเป็นครั้งแรกที่พวกเราเดินทางไปเที่ยวเมืองไทย  กีย์ และ มนตรีบอกเล่าเรื่องของ เด็กหญิง ชนิภรณ์ คำพร ที่ยังไม่มีใครให้ทุนการศึกษา ที่อาศัยอยู่กับคุณแม่ (นาง สุรัชนา พิมพา)ที่ตาบอด และพี่สาวเธอ ที่ชื่อว่า พรนภัส คำพร ที่มีคนรับไว้อุปถัมถ์จาก สมาคม เพื่อนๆมะขามเฒ่าแล้ว พวกเราฟังเรื่องที่เล่ามาแล้ว ต่างก็มีความสงสารมาก พวกเราจึงสมัครรับเป็นพ่อแม่บุญธรรมเด็กโดยไม่ได้ ติดติตรองอะไรทั้งสิ้น เพราะถึงอย่างไร เมื่อก่อนหน้าที่จะเดินทางมาเที่ยว พวกเราพร้อมแล้วและสมัครที่จะรับส่งเด็กยากจนเรียนกับสมาคมนี้อยู่แล้ว แน่ละพวกเรายากจะไปเห็นสภาพการเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวด้วยสายตาของเราเอง เราไปพบกับครอบครัวนี้พร้อมๆกับเพื่อนของสมาคมที่เดินทางมาด้วยกัน  เราเห็น ว่าครอบครัวนี้อยู่ด้วยกันหลานๆคน เช่น ตา ยาย ป้า น้า และลูกๆหลานๆ และเราเห็นได้ว่าต่างคนต่างก็ช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี และอยู่กันไปตามประสาของครอบครัวที่ยากจน

Nous faisons la rencontre de cette femme entourée de ses petites filles. Quelle émotion pour nous tous de voir cette maman, le regard vague, qui esquissait un sourire à notre arrivée. Chanitporn  la tenait par le cou. Pornapat, sa sœur était aussi assise aux côtés de sa maman. Malheureusement, cette mère ne peut voir, ni même percevoir ses filles. Elle ne peut que ressentir leur présence. C’est émouvant. En raison de sa cécité, cette maman seule (le papa a quitté le domicile depuis quelques années) ne peut pas travailler pour faire vivre sa famille. Sa situation est précaire, elle reçoit une pension mensuelle de 500 baths liée à l’affection dont elle est atteinte. Le parrainage des deux petites est une bonne chose mais celui-ci ne suffit pas à leur épanouissement. Elles doivent pouvoir partager le quotidien avec leur maman, comme tous les autres enfants.

พวกเราเห็นและทำความรู้จักกับ นาง สุรัชนาแม่เด็กและลูกสาวของเธอทั้งสอง ทำให้เราตื้นตันใจมาก ที่เห็นสายตาของผู้หญิงที่เป็นแม่ยังอยู่ในวัยยังสาว เธอมองมาทางเราด้วยสายตาว้างแว้ง พร้อมกับรอยยิ้ม ในขณะที่ลูกสาวทั้งสองนั้งกอดคอแม่อยู่อย่างหน้าสังสาร เสียดายที่เธอตาบอดมองเราไม่เห็น และแม้แต่ลูกเธอทั้งสองคนก็จำได้แต่เสียงเท่านั้น สามีของเธอทอดทิ้งไปและปล่อยลูกทั้งสองให้อยู่กับเธอตามลำพังมาหลายปีแล้ว เธอไม่สามารถจะทำงานได้  แต่ก็ได้รับค่าเลี้ยงดูจากรัฐบาล เดือนละ 500 บาท การส่งลูกของเธอเรียนทั้งสองคนนั้น มันเป็นประโชนย์มาก สำหรับเธอและครอบครัวถึงแม้ว่าจะไม่พอสำหรับเลี้ยงชีพประจำวันก็ตาม ฉนั้นทุกๆคนต่างก็ช่วยกันทำงานรวมทั้งเด็กๆด้วย

Profondément touchés par cette situation, Guy et Montri ont proposé à cette femme de passer divers examens ophtalmologiques à Lopburi et aux environs. Nous sommes alors en 2013. L’Association des Amis du Vieux Tamarin finance donc le coût de ces examens ainsi que les déplacements en taxi pour elle et un membre de sa famille pour l’accompagner. Malheureusement, il ressort peu d’espoir de ces examens médicaux. Un glaucome est diagnostiqué, il n’existe pas de traitement curatif et aucune opération ne peut être envisagée. Seules des gouttes oculaires seront prescrites pour tenter de ralentir les dommages. Suite à ces examens peu encourageants, cette maman se résigne donc à apprendre le braille puis à faire un stage  de formation de massage en 2014 auprès d’une association pour aveugles à Bangkok. Elle profite de ces déplacements à la capitale pour consulter d’autres ophtalmologues.

พวกเราต่างก็สงสารและเห็นใจในฐานะการเป็นอยู่ของครอบครัวนี้ คุณกีย์และ คุณมนตรีจึงตัดสินใจให้แม่เด็กไปตรวจสายตา ดูว่าพอจะมีการผ่านตัดหายบ้างหรือเปล่า  เธอก็ไปตรวจตาตามที่ต่างๆแถวๆ จัดหวัด ลพบุรี และใกล้เคียง ในปี คศ 2013 โดยสมาคม เพื่อนๆมะขามเฒ่ารับอาสาจะจัดการจ่ายค่าใช้จ่ายให้ การไปตรวจต้องใช้รถ เท็กซี่ และต้องมีคนพาไปด้วย ผลสุดท้าย หมอบอก ตาเธอเป็น ต้อหิน ไม่มีความหวังที่จะทำการผ่าตัดได้ หมอให้เพียงแค่ยาสำหรับหยอดตาแค่นั้น  ต่อมา สุรัชนาจึงสมัครไปเรียนเป็นหมอนวดกับสมาคมสอนคนตาบอด โดยที่ทางสมาคมคนตาบอดจัดสอนให้ฟรี่ เพื่อจะได้นำเอาไปประกอบอาชีพได้บ้าง และในระหว่างที่เธอไปเรียน ที่กรุงเทพๆ เธอจึงถือโอกาสไปหาแพรทย์เกี่ยวกับสายตาโดยเฉพาะที่โรงพยาบาล รามา


Début 2015, l’évolution de la médecine aidant, une lueur d’espoir renait. Un premier rendez-vous est programmé à l’hôpital RAMA de Bangkok en mai 2015 et suite à cet examen, une opération est envisagée. Il s’en suit plusieurs rendez-vous pour préparer dans un premier temps une opération de la cataracte le 18/08/2015. Réussite de cette intervention, la patiente perçoit plus de lumière qu’auparavant. A ce stade, l’Association a décidé de réagir et de prendre en charge tous ses frais (environ 29 500 baths).
ในตอนปี คศ 2015 การแพรย์ มีประสิทธิภาพดีขึ้น คุณหมอนัดให้ไปรักษาตาที่โรงพยาบาล รามา และความหวังก็เริ่มจะเห็นเป็นลางๆ หลังจากตรวจสอบดูแล้ว คุณ หมอทำการผ่านตัดเล็นตา ก่อนผ่าตัดต้องมีการรักษาภายในดวงตารวมทั้งยาล้างตาต่างๆ  และวันที่ 18/08/2015 การผ่าตัดเปลือกของเล็นตาสำเร็จขึ้นได้อย่างดี คนป่วยเริ่มจะเห็นแสงสว่างเป็นรางๆ ค่าทำการผ่านตัดทั้งหมด 29 500 บาท ที่สมาคมจ่ายให้เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมด

Reste à traiter le glaucome. Nouveau rendez-vous chez l’ophtalmologue, qui envisage la pose d’un implant pour remplacer le cristallin de ses yeux. Cette intervention devrait permettre à cette personne  de recouvrer la vue à 60 %. Le seul problème reste le coût très élevé de l’opération : 65 000 baths, sachant que les lentilles doivent être commandées aux Etats-Unis. Aussitôt, Guy et Montri font part de cette nouvelle perspective d’intervention aux membres de l’Association. Ils souhaitent les consulter pour savoir s’il est possible de poursuivre l’aide financière pour ces nouveaux frais médicaux. La réponse ne s’est pas faite attendre, Les Amis du Vieux Tamarin acceptent de prendre en charge l’opération du glaucome. L’Association va donc remettre 100 000 baths à nos représentants à Makhamtao pour financer l’ensemble des visites ophtalmologiques et l’opération des yeux de cette jeune maman. L’intervention a été réalisée en novembre. Les résultats sont très satisfaisants, la récupération visuelle est au final de 70 %.

หลังจากนั้นก็มีการให้ยาแก้ต้อหิน หมอนัดไปพบใหม่ และบอกว่าถ้ามีการผ่าตัดและใส่เล็นในดวงตาจะมีความหวังที่จะเป็นประมาณ 60 % และการผ่าตัดจะต้องใช้เงินมาก คือประมาณ 65 000 บาท เพราะจะตั้งสั่งเล็นมาจากประเทศอเมริกา หลังจากรายงานผลให้ มนตรี และกีย์เสร็จ มนตรีและกีย์ นำไปปรึกษา สมาสิกของสมาคมเพื่อขอความเห็น ว่าจะช่วยเหลือต่อได้หรือเปล่า ผลที่สุดทุกๆคนตกลงช่วยเหลืออีก  มนตรี สั่งให้คุณครูมด ที่เป็นคนที่ทำรายงาน รายละเยีดดและติดตามผมในการผ่านตัดมาตลอด ให้อนุมัติใช้เงิน จำนวนนี้มาให้ช่วยในการผ่าตัดรักษาตา และไม่นานมานี้ การผ่าตัดก็ได้ผ่านไปได้อย่างดี และ ขณะนี้ ตาของคนป่วยสามารถมองเห็นแล้ว 70 %

Cet élan de générosité montre à quel point l’engagement de l’Association des Amis du Vieux Tamarin, à commencer par Guy et Montri, est très fort pour ces familles de Makhamtao. Grâce à eux, la vie de Surachana et de ses deux filles va considérablement changer.

สมาคม ของเพื่อนๆมะขามเฒ่า และ คุณมนตรีได้ให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือครอบครัวนี้เป็นอย่างดี และจากความช่วยเหลือของเขา และนับว่าเป็นบุญกุศลของ ผู้หญิงตาบอกได้มองดูโลกได้ แน่ล่ะต่อจากนี้ไป สภาพการเป็นอยู่ของ สุรัชนา และลูกของเธอเปลียนไปอย่างไม่เคยคิดไม่เคยฝันมาก่อน

Par Marie-Anne BODIN

แปลโดย มนตรี
Les Amis du Vieux Tamarin

http://amisduvieuxtamarin.blogspot.fr/